กระบวนการยุติธรรมกับการปฏิรูปประเทศไทย

1210 12 Dec 2012

ปัญหาประเทศไทย    ปัจจุบันประเทศไทยมี ปัญหา ด้านความยุติธรรม คือ การบังคับใช้กฎหมายที่ยังไม่ศักดิ์สิทธิ์ และเท่าเทียมกัน    กฎหมายมีมากมาย แต่ผู้บังคับใช้กฎหมายมีปัญหา ทางออกกระบวนการยุติธรรมกับการปฏิรูปประเทศไทย  1 ทบทวนกฎหมายของตนที่มีปัญหา ขัดรํฐธรรมนูญ เช่น มาตรา 60 ( บุคคลย่อมมีสิทธิที่จะฟ้อง หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น และมาตรา 71 บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย ซึ่งกฎหมายลูกเช่นกฎหมายอาญา กฎหมายศาลปกครอง ยังกำหนดให้เฉพาะ ผู้เสียหายเท่านั้นมีสิทธิ์ฟ้องศาล    และตุลาการศาลปกครองบางท่านยังใช้กรณีย์ นี้ยกฟ้องกรณ๊ย์ ประชาชน ฟ้องหน่วยงานรัฐ   แต่รัฐธรรมนูญสามารถกำหนดให้ ประชาชนคนไหนก็ได้ที่รักษาผลประโยชน์ชาติ มีสิทธฺฟ้องซึ่งยังไม่ได้แก้ไข กระบวนการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย   ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 84 (คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย มีแล้ว ) โดยเปิดให้ประชาชน และข้าราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เสนอความคิดเห็นร่วมด้วย   และแก้ไข กฎหมาย ปปช . ไม่กำหนดอายุความ       กฎหมายผลประโยชน์ทับซ้อน   เช่นห้ามออกนโยบายเอื้อต่อเอกชน การฮั้วประมูล   การให้สัมปทาน   การอุ้มคู่แข่ง การขึ้นค่าก๊าซ   ค่าไฟฟ้า ราคาน้ำมัน   สินค้าต่างๆ   การสร้าง ตลาดผูกขาด   การส่งเสริม รร.กวดวิชา   ต้องมีบทลงโทษจริงจังแก่ข้าราชการ ที่เอื้อประโยชน์แก่เอกชน    และข้าราชการห้ามเป็นกรรมการในบริษัทกึ่งเอกชน หรือมีเอกชนถือหุ้นเช่นปตท. กฎหมายพรรคการเมือง   เช่น ห้ามทุกคน ทุกบริษัท นายทุน บริจาคให้พรรคเกิน 1 แสนบาท / คน / ปี ผู้สมัครเลือกตั้งต้องเป็นผู้ประกอบคุณงามความดีมาไม่ต่ำกว่า 10 ปีและไม่มีประวัติ เสียหาย 2   การใช้อำนาจตุลาการ หรือกระบวนยุติธรรม   ควรมีคณะลูกขุนเพื่อให้ การตัดสินความด้วยความยุติธรรม ไม่มีสองมาตรฐาน และมีความเป็นธรรมแก่ประชาชน และทั้งข้าราชการผู้ใหญ่ นักการเมืองต้องอยู่ภายใต้ กฎหมายไม่ใช่ทำอะไรก็ไม่เคยผิด   และควรมีที่ปรึกษา ทางกฎหมายแก่ประชาชน  โดย ไม่ยกเว้น แม้นมีเรื่องกับหน่วยงานรัฐ 3  กฎหมาย ควรจะใช้บังคับทุกคนไม่มีใครอยู่เหนืออำนาจกฎหมาย และหากใครไมทำตามกฎหมายควรมีบทลงโทษ โดยเฉพาะข้าราชการผู้ใหญ่     ผู้แทนองค์กรอิสระ   หากมีสองมาตรฐานต้องให้ได้รับโทษมากกว่าสาธารณะชน สองเท่า ถึงห้าเท่า 4 ที่มาของ ตุลาการ หรือองค์กรอิสระ ควรมีตัวแทนศาสนา ร่วมเป็นกรรมการ   นอกจากความอาวุโส แล้ว ควรจะมีการแสดงวิสัยทัศน์   และประวัติ ผลงานในอดีต ร่วมด้วย      และ มีความดีประกอบไม่ต่ำกว่า10ปี นอกเหนือจากมีความรู้กฎหมาย  และให้ประชาชน ร่วมกันให้ข้อมูลบุคคล โโยโพสต์ผ่านเวบไซด์ หรือ จดหมาย หากจะได้รับการคัดสรรค์​ควรให้ประชาชนช่วยกันส่องไฟ 5 งบประมาณขององค์กรอิสระ ศาล ต้องไม่ขึ้นกับ ครม แต่ให้เป็นสดส่วนเท่าใดของภาษีบาป หรือกองทุนอื่นๆ 6 รัฐบาล ให้สื่อทีวีหนึ่งช่องฟรี แก่ ภาคประชาชนจริงๆ หรือสภาพัฒนาการเมือง   หรือเชิญชวนทุกสื่อ เสนอข้อมูลทุกด้านอย่างเป็นธรรม ทั้งเรื่องสิทธิ หน้าที่ บทบาท ของตนเองในระบอบประชาธิปไตย   กฎหมายที่จะผ่านสภา  มติครม. นโยบายต่างๆ ประชาชนควรรับรู้ และมีส่วนร่วม   ห้องเรียนกฎหมาย ขนาดใหญ่ พท.พญ.กมลพรรณ ชีวพันธ์ศรี   T.0812980284   fax 027637722   thai9lee@gmail.com   kamolpar@yahoo.com    www.parent-youth.net , www.thammapi

Contact Information

  • : มูลนิธิกองทุนไทย Thai Fund Foundation 2044/23 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310
  • : webmaster@thaingo.org
  • : 082 178 3849
  • : www.thaingo.in.th

Thai NGO

ข่าวสารสังคมนอกสื่อกระแสหลัก ข่าวสารความเคลื่อนไหว เกี่ยวกับเอ็นจีโอ ข่าวกิจกรรมเพื่อสังคม งานสัมนา สมัครงานเอ็นจีโอ ร้องเรียน แจ้งข่าว…ประนามประจาน !! ที่ได้รับความทุกข์ร้อนไม่เป็นธรรม