ประชุม ขอ้คิดเห็น ร่าง พรบ.เหมืองแร่ 10 ก.ค.55 สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

1360 26 Sep 2012

-เหมืองต้องฟื้นฟู ถ้าไม่ฟื้นฟูเราจะเอาเงินกองทุนมามาจัดการ -ทำยังไงให้กฎหมายทำให้ชัด แร่เป็นของใครไม่สำคัญ ที่สำคัญคือการมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน  มีการตรวจสอบ โปร่งใส โครงการไหนที่ไม่ยุ่งยาก ไม่กระทบ ก็ไม่ต้องการยุ่งยากมากมาย /ต้องใช้ช่องทางกฎหมายให้ถูกต้อง -จาก สปก.และกรมอุทยานฯ  คณะกรรมการใน พรบ. มีอำนาจกำหนดพื้นที่ที่เหมืองแร่ได้  มันทำให้เกิดความทับซ้อนกัน /แร่ในพื้นที่ไม่ได้บุบเสีย ทำไมต้องทำ พื้นที่เกษตร ประเทศต้องการพัฒนาไปในทางไหน ? ต้องมีความชัดเจน เพื่อจัดการทรัพยากรในการพัฒนา จำเป็นไหมว่าต้องเปลี่ยนพื้นที่เกษตรเป็นพื้นที่เหมือง / นึกถึงผลกระทบที่จะมีต่อประชาชน ด้วย / สปก.อนุญาตไปแล้วหลายพื้นที่ / ปัญหาความซ้ำซ้อนในค่าตอบแทน แต่ละหน่วยงานจะจัดสรรอย่างไร ? / ประชาชนริมเหมืองได้รับการดูแลอย่างไร / สปก.ก็อยากเก็บรายได้ส่วนหนึ่งมาเป็นกองทุนเพื่อนำไปพัฒนาพื้นที่ต่อไปด้วย -กฎหมายฉบับนี้ไปทำให้อำนาจจัดการ ที่ดินได้/ กรมป่าไม้ อุทยานฯ ถ้าเกิดผลกระทบ มีความเห็นอย่างไร หรือไม่ ? อยากให้หน่วยงานเหล่านี้ ตอบคำถามด้วยถีชีวิต -จาก กพร. สปก.ให้ความสำคัญของพื้นที่มาก่อน ถ้าพื้นที่เหมาะสมสำหรับเกษตร ต้องทำเกษตร แต่ถ้าไม่เหมาะสม ก็สามารถเอามาทำเหมืองได้ / ต้องกำหนดวิธีการ ขอบเขต ให้จัดเจนว่าจะจัดการอย่างไรบ้าง / -การ อนุญาตให้ใช้ ตามระเบียบ สปก. มีอยู่แล้ว ตามระเบียบนั้นมีการระบุไหมว่า ถ้ามีใคร ใช้ผิดวัตถุประสงค์ จะถูกดำเนินการ หรือยกเลิกได้หรือไม่ ? / สปก. จะพิจารณาตามสภาพพื้นที่ แต่ต้องไม่กระทงวิ ถีชีวิตราษฎรในพื้นที่ -การถูกเพิกถอน จาก สปก. มีการชดเชยให้ชาวบ้านหรือไม่ ? / ตอบ ถ้าเกษตรกร ยินยอม ก็แล้วแต่คู่กรณี -การประกาศเหมืองแร่ เขตเหมืองแร่ในทางกฎหมาย โดยไม่ต้องได้รับใบอนุญาตตามภารกิจนี้ / ตอบ ยกเว้นเฉพาะบทนี้ -คณะกรรมการแร่ มีอำเสนอแนะ เท่านั้น แต่อำนาจจริงๆ คือรัฐมนตรี / คณะกรรมการกองทุน ชุดเดียวกับคณะกรรมการแร่ มันทับซ้อนผลประโยชน์อยู่ เป็นชุดเดียวที่เสนอและดูแลทุนต่อรัฐมนตรีคือชุดเดียว/ เป็นบทนิยามเพื่อธุรกิจและพาณิชย์ เท่านั้น หมายแร่มีไว้เพื่อประกอบธุรกิจแร่เท่านั้น การบริหารจัดการจึงมีจุดหมายเดียว/ ทำให้เรื่องสิทธิชุมชน สิทธิท้องถิ่นจึงมีปัญหา / การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ยังขัดกับโครงสร้าง/ เรื่องอำนาจออกประทานบัตร ปัญหาคือรัฐต้องเคร่งครัดกำกับดูแลกับผู้ทำเหมือง การขอทีโออาร์ ต่างๆ เป็นเรื่องสมบัติเฉพาะ แต่ปัญหาคือการเปิดให้มีการซับคอนแท็กได้ หลายอย่างขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้อำนาจหลายเรื่องมากเกินไป โดยเฉพาะการซับคอนแท็ก หรือการรับช่วงสวมสิทธิ์ ซึ่งมีปัญหา/ อำนาจในการสำรวจแร่ อำนาจในช่องทางต่างๆ ยังตกเป็นระดับสัมพันธ์แบบสูงลงล่าง มากกว่าแบบแนวระนาบ ขาดการมีส่วนร่วม -งาน วิจัยชิ้นนี้ ไม่ใช่แรก แต่มีมากกว่านั้น เช่นที่จุฬา เพราะวิจัยไม่ตอบโจทก์แก้ปัญหาจึงทำให้ตกไป เพราะต้องแก้ พรบ.ให้สอดรับกับสภาวะปัจจุบัน ไม่ใช่แก้เพราะ พรบ.เก่า / ผู้แทนสภาองค์กรชุมชน เป็นตัวแทนชุมชนจริงหรือไม่ มีเสีง 1 ใน 10 มัน เป็นเสียงประชาชนได้จริงหรือ ?  ในสัดส่วนคณะกรรมการแร่ มันไม่มีเรื่องการมี้ส่วนร่วม / เรื่องขออนุญาตทำแร่คุณสมบัติผู้ขอนั้นสำคัญ /ทรัพยากรของประเทศทำไมต้องไปล้อคไปอยู่ในมือคนๆ เดียว / นี่หรือความโปร่งใสในการประกอบเหมืองซึ่งมีผลกระทบ กฎหมายนี้ ทำได้อย่างไรในการมีสิทธิ์เข้าถึง เข้าใช้ทรัพยากรแร่ / การโอนิสทธิ์ ลอยๆ เป็นไปไม่ได้ เพราะเน้นเรื่องคุณสมบัติ ผู้ทำเหมือง ดังนั้น การโอนประทานบัตร ทำไม่ได้ และการโอนต้องมีเหตุจำเป็นเท่านั้น เราไม่ให้ใครก็ได้มาถลุงเพราะได้ใบถลุง /เงินทดแทนตอบโจทก์ชาวบ้านหรือไม่ / กระทบต่อชุมชนและวิถีชีวิตของเขา เงินทดแทนได้ไหม ตอบโจทก์หรือเปล่า ? / มีหลายประเด็นที่ยังค้างคาและยังถูกคงเอาไว้ เราต้องแก้ให้สอดรับ และเข้าสภาพการณ์ปัจจุบันกว่านี้ / สภาพการณ์ 2510 กับ ปัจจุบันไม่เหมือนกัน ตอนนั้นเราต้องการทำเหมืองแร่ เราต้องการเงิน แต่ตอนนี้ เราต้องย้อนไปดูว่ากี่สถานที่ ที่ชาวบ้านเดือดร้อน ถูกกระทบ ได้รับการเยียวยา ต้องลองกลับไปดู / การมีส่วนร่วม การประกาศให้ประชาชนทราบ หน่วยงานรับทำอย่างไร ? ชาวบ้านเขาทราบดี คือมารู้ว่าจะมีการสัมปทานเมื่อจะหมดอายุทักท้วงไปแล้ว / ต้องแก้ไขพวกนี้เพื่อคุ้มครองประโยชน์ชาวบ้าน / วันนี้เรา มีปัญหาอะไร เราเคยทำบ้างหรือเปล่า จิตวิญญาณกฎหมาย ไม่ใช่การเปิดประเทศ การเรียกการลงทุน แต่เป็นการดูแลรักษาทรัพยากรให้ยั่งยืน / กรณีคลิตตี้ทำไมเราต้องให้เขาสู้นานขนาดนั้น  ทำไมเราไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือให้ชาวบ้านไว้คุ้มครองตัวเอง / บทบาทของรัฐตอนนี้อยู่ตรงไหน /  รัฐต้องกลับมามีบทบาทคะคานทุน ตรวจสอบทุน / ทำไมผู้ประกอบการเสียเวลาติดขัด  เสียประโยชน์ทำไมรัฐสนใจ แต่ชาวบ้านกลับไม่มีใครสนใจ ? -จาก อาจารย์ศักดิ์ณรงค์   เคยมีประสบการณ์ ที่น้ำเสียว-และโปแตซ เป็นพื้นที่ศึกษาตอนเรียน ป.เอก  เราต้องการการบาลานซ์ ระหว่างผู้ประกอบการ รัฐและชาวบ้าน /ภาพรวมชุมชน ร่างกฎหมายฉบับนี้ไม่ได้แก้ปัยหาที่มีอยู่เลย ประเด็นคือ รัฐมีอำนาจตัดสินใจให้ประทานบัตรฝ่ายเดียว /กลไกกฎหมายปัจจุบันน่าจะมีกระบวนการ ขั้นตอน มากขึ้น เพื่อผูกมัดดุลพินิจในการตัดสินใจของภาครัฐ หรือแม้แต่หลักประกัน ของผู้ให้ประทานบัตร เช่น ผู้ให้ประทานบัตรจะต้องพิจารณาให้อะไรบ้าง ? ที่มีอยู่มันทำให้ผู้ให้ประทานบัตรพิจารณาคับแคบ ตีกรอบ โดยไม่ข้องเกี่ยวกับกฎหมายสิทธิชุมชน  คคือเฉพาะบางกฎหมาย ที่ต้องรับผิดชอบ / ต้องให้พิจารณาหลายตัวกฎหมาย เพื่อให้ผูกมัดให้รับผิดชอบ/ เรื่องการโอนิสทธิ์มีปัญหา เพราะจะนำไปสู่การขายใบอนุญาต ผู้มารับช่วงสิทธิ์ ถ้ามีคุณสมบัติเบื้องต้นสามารถทำได้เลย จนกว่าศาลจะสั่ง /ความเสียหายผลกระทบ รัฐคือผู้รับภาระชดใช้ความเสียหาย จากผู้ได้เสีย แล้วถ้าผู้ประกอบการไม่อยู่ ใครจะรับผิดชอบ ? / การมีส่วนร่วมในภาพรวมมันไปไม่ถึงสาระ ที่ควรมี /มีทุนให้ชาวบ้านมีความสะดวกในการทำวิจัย ตรวจสอบ ผลการดำเนินการ เพื่อเป็นอีกฝ่ายหนึ่งคู่ขนานหน่วยงานรัฐ และควรจะมีกลไกแบบนี้ในทุกระดับ เพื่อให้มีน้ำหนักยืนยัน / -สุรชัย ทนาย  กฎหมายให้อำนาจกับฝ่ายราชการมาก มากโดยไม่มีหลักเกณฑ์อะไร เช่น มาตรา 15 เป็น หลักสำคัญไว้ว่าเพื่อประโยชน์ต่อส่วนร่วม / ข้อสงสัย การบริหารจัดการแร่ ต้องเป็นไปตาม พรบ. ยกเว้น ส่วนราชการที่มีภารกิจ คือไม่แน่ใจ ว่าราชการจะมาประกอบเอง ได้หรือเปล่า ? ถ้าราชการทำเองไม่ต้องปฏิบัติ พรบ. ยังงั้นหรือเปล่า ? / เรื่องตามมาตร 36 ตัว เหมืองแร่หลายประเภทดังนั้น ผมว่าเกณฑ์มันไม่ชัด เช่นค่าภาคหลวง ก็ไม่มีตัวกำหนดสุดท้าย /ไม่มีเกณฑ์ว่าประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมอย่างไร ? / มีข้อยกเว้นเยอะมาก ที่ทำให้ผู้ประกอบการไม่ต้องฟื้นฟู / ม.77 การ ขุดหาแร่ ร่อนแร่ รายย่อย อยากให้มาองเรื่องเครื่องจักร แค่แจ้งให้ทราบก็ดำเนินการได้เลย ผมว่าไม่พอ เกี่ยวกับมาตราสิ่งแวดล้อม ผมว่ามันไม่พอ / ผลกระทบ ปนเปื้อนระยะยาว ตัวกองทุน ที่จะตั้งขึ้นก็มีปัญหา หน้ากรมอุตสาหกรรมเหมืองแร่ มีหน้าที่ฟื้นฟูไหม? กรมอุตสาหกรรมเป็นผู้ให้ใบอนุญาต รับผิดชอบอะไร ? โดยเฉพาะการปนเปื้อนขยายไปเลยเขตเหมืองแร่ / ผู้ก่อมลพิษไม่ใช่ผู้จ่าย ไม่ได้ รัฐต้องไปไล่เบี้ยเอาเงิน ก็ไม่รู้นานแค่ไหน ได้หรือไม่ หรือแค่ไหน ? /มันต้องให้เป็นระบบ / มาตรการในทางอาญา กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานปล่อยสารตะกี่วลงพื้นที่ ก็ปรับแค่ 2000 บาท ทำไม เราไม่กำหนดเป็นอาชญากรรมด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่ง  ได้หรือไม่ ?  ตัวโทษ ก็เบา แค่ไม่เกิน 3              ปี หรือเปรียบเทียบปรับได้  / มาตรา 132 มีการดำเนินไปโดยไม่ได้รับอนุญาต เหมือนแก้ไขการทำแร่เถื่อน จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 3 แสน หรือ ฝืน ปรับ 10,000 บาท -อ.ศักดิ์ณรงค์ ม.66-67   มันกร่อน กฎหมายรัฐธรรมนูญไปมาก -ภาระในการพิสูจน์ความเสียหาย มอบภาระในการพิสูจน์กับผู้ประกอบการ ต้องรวมไปถึงการเสื่อมมูลค่าต่อทรัพยากร และรวมไปถึงสิ่งแวดล้อมด้วย /กฎหมายนี้ มีทิศทาง ต้องไม่ทำให้ชาวบ้านเข้าใจว่า  ไม่ได้มีกฎหมายนี้เพื่อให้ชาวบ้านทำเหมืองได้ ภาระในการเลี่ยงค่าเสียหาย -ตัวแทน สุวิทย์ กุหลสบวงศ์ / ผมเคยล้มกฎหมาย พรบ.น้ำ /เหมือนกฎหมายตัดแปะ ประเทศไทยไม่เคยมีการประมวล อะไร ตรงไหน มันง่ายที่จะเอาอะไรมาใช้ ซึ่งมันมาก / การมีส่วนร่วม ม.64 ท้าย ที่สุดผู้จะทำเหมือง มักใช้วิธีการปราสัมพันธ์ มากกว่าการมีส่วนร่วม โดยเฉพาะการได้รับข้อมูลช่าวสาร ที่ทั่วถึง ในชุมชน ได้ทุกระดับ นำไปสู่การรับรู้ คัดค้าน ได้อย่างรู้ทัน พรบ.ฉบับนี้น่าจะมีการ แก้ไขปัญหาพวกนี้/ เรื่องการจ่าย ก็อ้างชาวบ้านว่าต้องการจ่ายค่าดเชย ทำให้ชุมชนแตก เพราะสิทธิชุมชนมาถูกตัดสินใจด้วยประโยชน์ปัจเจก เอาเงินมาเป็นตัวซื้อ จ่ายแพง /ไม่ด้ยยที่จะมีการจ่ายตรงนี้/  ระบุให้ชัดเจน ให้ร่างกฎหมายมีเนื้อหาสอดคล้องกับ รัฐธรรมนูญ -ตัวแทน ชิน สรนะชาวนา  จากพิจิตร /  มาตรา 4 ที่ผมอยู่เป็นเขตป่าสงวนฯ เป็นที่ สปก. ทับซ้อนหลายหน่วยงาน /ให้คำนึงเกษตรกร ให้ใช้ดุลพินิจอนุมัติไปก่อน /หมวด 1 คณะ กรรมการ ตอนนี้เหมืองแร่ทำแล้ว ส่งคนไปเป็น อบต. ส่ง อบต.ไปเป็นกำนัน แบบนี้ชาวบ้านไม่ปากเสียงไปเป็นตัวแทนใน กรรมการใน พรบ. / หมาจิ้งจอก สวมชุดนักวิชาการ มาทำอีไอเอ เอชไอเอ นี้มาทำร้ายประชาขน / ผูกขาดการสำรวจแร่ มีได้กี่คำขอ พื้นที่กว้างๆ ของชุมชน หายไปหมด ไม่รู้กี่ล้านไร่ หมู่บ้านหายไปทั้งหมู่บ้าน มันทุกข์ยากขนาดไหนรู้ไหม?  / เขาละเมิดระบบนิติรัฐของรัฐ เขาจ่ายไม่กี่แสนบาท เพื่อเปลี่ยนเส้นทางรถ  เส้นทางน้ำ โดยไม่คำนึงความเสียหายที่ชาวบ้านต้องจ่าย -นส.แววรินทร์ จากบ้านแหง อ.งาว ลำปาง / ทำแร่ขนาดกลาง ขนาดเล็ก ขนาดย่อย เขาขอทำขนาดเล็กเพื่อให้ผ่านได้ง่าย/ อบต.ที่บ้าน ทุนเข้าหาได้ง่ายมาก/ ร่างทั้งหมดขัดรัฐธรรมนูญ ให้ชาวบ้าน มันขัดเลย / ชาวบ้านไม่มีสิทธิ์อะไรเลย / กฎหมายนี้ลิดรอนสิทธิ์ชาวบ้าน/ ม. 61 ใช้ไม่ได้เลย เป็นไปไม่ได้ที่จะไม่ส่งผลกระทบ -เอกชัย จาก สงขลา /มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประเมินสถานการณ์ เป็นสถานการณ์ที่อำนาจเงินซื้อได้ ท้องถิ่นก็เหมือนกัน ที่เขาคูหาก็เหมือนกัน ผู้จัดการมาเป็น นายกฯ อบต. กำนันเป็นเจ้าของที่ดิน / เอกชนเป็นกลไกรัฐ /กลไกรัฐกำลังกลายมาเป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์  / เนื่องจากอำนาจเงินแล้ว อิทธิมีอยู่ทุกพื้นที่ ถ้าจะใช้กฎหมายนี้ ต้องการจัดการกลไกอิทืธิพลเถื่อนให้ได้ด้วย  / ถ้าแก้จุดอ่อนไม่ได้ กลไกการผูกขาด ทรัพยากร ก็แก้ไขไม่ได้ / ผู้ได้รับประโยชน์จากกแร่ มาเป็นกรรมการได้ด้วย และส่วนมากเป็นข้าราชการ /เป็นโครงสร้าง แบบให้อำนาจผู้ใช้มากกว่าเจ้าของทรัพยากร / ทำอย่างไรให้ข้อมูลข่าวสารเข้าถึงได้ง่าย / ไม่เห็นด้วยที่จะให้สภาองค์กรชุมชนเป็นคณะกรรมการในชุดนี้ และเป็นส่วนฝั่งผู้ประกอบเสียทั้งหมด สถานการณ์สังคมยิ่งอยู่ในกรอบอำนาจเงิน ยิ่งน่ากลัว / ต้องร่างกฎหมายออกให้ทะลุกรอบปัยหาพวกนี้ -ญาณ พัฒน์ ไพรมีทรัพย์ จากแคดเมี่ยม ตาก / ร่างกฎหมาย นี้ไกลความจริงมาก เกินความจำเป็น ล่าช้า มาจากความคิดสภาการเหมืองแร่ หรือเปล่า ? มันสอดคล้องกันมาก มันมีร่าง มีเหตุมีผลรองรับ การเยียวยา ความเสียหาย ดูอะไรที่เป็นรุปไม่ได้เลยในกฎหมายฉบับนี้ กองทุนต้องอยู่ไกลประชาชน มากที่สุด ยกเว้นว่า เพราะไม่เชื่อใจประชาชน ถ้าชุมชนมีอำนาจเข้าถึงจัดการ มันอาจจะนำมาใช้ได้รวดเร็ว ตรงตามต้องการ ถ้ากฎหมายี้ผ่าน แล้วเกิดความเสียกาย ส่งผลกระทบ แล้วใครรับผิดชอบ ? ประเด็นต่อมา ชีวิตที่เสีบหาย ภาระค่ารักษา สิ่งเหลานี้ มันประมาณค่าไม่ได้เลย เทียบกับการเยียวยาคนมากมายที่เจ็บป่วย แร่ไหนที่จำเป็น ก็เอามาใช้ แต่ถ้าอันไหนความรู้ไม่พอ ก็ไม่ต้องเอาใช้ / ไม่ใช่เอะอะ ถ้าอยู่ไม่ได้ก็ย้ายออกไป แก้ปัญหาแบบกวาดขยะเข้าโพรง สุดท้ายก็อัปลักษณ์ / สุดท้ายชาวบ้านก็อยู่กับการกินข้าวปนเปื้อนสารพิษ -วัชาภรณ์ จาก เลย / เลยมีแร่มาก / พื้นที่ขอประทานบัตร 70,000 ไร่ / ปัญหาคือมันมีความบกพร่องเดิม จากเหมืองแร่ทองคำ มีโลหะหนักปนเปื้อนจากเลอดเนื้อพี่น้อง ไม่มีมาตราการในการเยียวยา ชี้ชัด ผลที่เกิดขึ้น / อยากให้มีหน่วยงาน ที่พูดถึงการเยียวยา / การลงทุน การให้สัมปทานกรุณาย้อนมองสิ่งที่เกิดขึ้น มาแล้วด้วย ก่อนจะนำพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่มีแต่ความหายนะ มากกว่ายั่งยืนจริงๆ / -โกวิทย์ บุญเจือ จากเลย / เรื่องคณะกรรมการ ผมไม่เชื่อว่าคณะกรรมการ จะยืนอยู่ฝั่งชาวบ้าน หรือผู้เสียหาย ผมไม่เชื่อจริงๆ สัดส่วนมันแตกต่างกันมาก ในแง่บทลงโทษ มันเบามาก ทำให้ผมก็กล้าเสี่ยง ที่จะถูกปรับ -อ.สันติภาพ  มรภ.อุดร /  มองตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ทำไมไม่เขียนไปเลย ว่า ไม่ใช่พื้นที่เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า เขตอนึรักษ์ไปเลย / ทำสถิติปริมาณความต้องการแร่ของประเทศ ความต้องการในอนาคต / เช่นขอสำรวจแร่โปแตซไปพร้อมๆ กัน 10 จังหวัด /ควรจะมียุทธศาสตร์ว่าจะขุดขายแค่ไหน เก็บไว้แค่ไหนด้วย -กพร. อำนาจของคณะกรรมการ ตามนั้นอยู่แล้ว / เขตประกอบการเหมืองแร่ บางอย่าง ทำไมไม่ระบุไปว่า ในเขตอนรักษ์ ห้ามทำ คือ มันห้ามอยู่แล้วเลยไม่ระบุ / ทำอย่างไรไม่เอากระดิ่งไปผูกคอแมว คือ ค่อยๆ ทำ / เช่น รัฐมนตรีตอนนี้คิดคนเดียวไม่ได้ / เราต้องคืบคลานไปคนละนิดละหน่อย / การโอนการสวมสิทธิ์ แต่เดิมได้ แต่เดี๋ยวนี้ ได้ แต่ต้องกลับไปขอใหม่  เหใอนขอใหม่ / -สปก. ยุทธศาสตร์ แร่  ต้องมองให้เชื่อมโยง หลายด้าน -สุรชัย ทนาย / คิดว่าหน้าที่ใคร ? -กพร. จริงๆ ควรจะเป็นใครก่อคนนั้นจ่าย / เอาเงินมากองในกองทุน เพื่อจะได้ไม่ต้องยุ่งยาก ในการดูแลผู้เสียหาย ***   -อัยการ จันทิมา ธนาสว่างกุล    เรื่องการฟื้นฟู  ถ้าจะให้ได้ จะต้องเขียนกฎหมายไว้ในฉบับนี้ ผู้ถือประทานบัตรต้องปฏิบัติปรับสภาพและฟื้นฟู / อำนาจรับปรับตัวอย่างไร หากเกิดปัยหาขึ้นมา / ในข้อเท็จจริง การทำเหมืองแร่จะต้องมีการปรับสภาพและฟื้นฟู คือหลักประกัน จึงไม่อาจมีเงื่อนไขอื่นได้ / การโอนสัมปทานสิทธิ์ มันคนละกรณีกับการขอสัมปทานใหม่ จับรวมกันไม่ได้ / -สุวิทย์ / เรื่องการฟื้นฟู คือเรื่องสำคัญที่ชาวบ้านสู้ / ตอนนี้ที่อีสาน มีบริษัทจดขอและสำรวจ มีทุนไม่กี่แสนบาท บริษัทเหล่านี้ สำรวจเพื่อขาย อาชญาบัตร เราพูดแต่บนดิน ใต้ดิน แต่เราไม่เคยพูดทะเล ถ้าทำทะเล พี่น้องประมงทำยังไง ?  ทรัพยากรใต้ทะเลก็ไม่ใช่น้อยเหมือนกัน -ชาญวิทย์  / ส่งเอกสารการยกร่าง มที่มาจาก 8 เวที มาให้ด้วย ว่า มีใครเข้าร่วม ให้ความคิดเห็น คิดอย่างไร ในแต่ละครั้ง มีการนำเข้ามาในเนื้อหาหรือไม่ ? -เอกชัย / ได้ร่วมเวทีอย่างรีบเร่ง ในเวทีวันนั้น ไม่ค่อยมีความคิดเห็นอะไรเลย / กลไกโครงสร้างที่เป็นกรรมการแร่  เสนอเป็นคณะกรรมการควบคุมกิจการเหมืองแร่และขอเป็นองค์กรอิสระ สามารถเยียวยาหรือลงโทษได้เลย /เคยมีฃกรณี ในการหยุดเหมืองได้ไหม สักครั้ง ถ้าไม่มี อาจจะต้องคิดกลไกนี้ ออกมาสักครั้ง -ประยงค์ ดอกลำไย ต้องการให้ กพร.ส่งเอกสาร ต่างๆให้ (เอกสารเวทีต่างๆ ทั้ง 8 เวที ใครเข้าร่วม และเสนอกันอย่างไร ) - อ. จาก ม.ทักษิณ  อยากเห็นทิศทางในการทำแร่ ไม่ใช่ขุดส่งออก แต่อยากให้มีแผนการขุดเอามาไว้ใช้แค่ไหนอย่างไร เพราะมันไม่ใช่ของหมดแล้วมีไหม มันยั่งยืนไม่ได้ มันหมดแล้วหมดเลย -หมอนิรันดร์  สรุป....   อยากได้กฎหมายที่คุ้มครอง เขาด้วยเลยต้องมีเวทีเหล่านี้ขึ้นมาเพื่อรับฟัง เสียงจาภาคประชาชนด้วย เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม และไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนของเขา สิทธิชุมชนของเขา / มาตราต่างๆ ที่พูดมันตอบได้ไหม ถ้าตอบไม่ได้ ไม่มีทางสงบสุข การใช้ทรัพยากรมันต้องตอบความมั่นคงของมนุษย์ด้วย ความสงบสุขด้วย ว่าชุมชนอยู่ได้ไหม ? / ภาคประชาชนต้องขอมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในระดับต่างๆ

Contact Information

  • : มูลนิธิกองทุนไทย Thai Fund Foundation 2044/23 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ บางกะปิ ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310
  • : webmaster@thaingo.org
  • : 082 178 3849
  • : www.thaingo.in.th

Thai NGO

ข่าวสารสังคมนอกสื่อกระแสหลัก ข่าวสารความเคลื่อนไหว เกี่ยวกับเอ็นจีโอ ข่าวกิจกรรมเพื่อสังคม งานสัมนา สมัครงานเอ็นจีโอ ร้องเรียน แจ้งข่าว…ประนามประจาน !! ที่ได้รับความทุกข์ร้อนไม่เป็นธรรม